พอดีว่าเพลี้ยกำลังลงในสวนก็เลยเบื่อ แต่ว่าวันเกิดเพื่อนก็ขออวยพรหน่อย
อันเนื่องด้วยวันเกิดนี้ขอให้มีสุขภาพแข็งแรงประสบความสำเร็จในงานนำพาฐานะอันร่ำรวยด้วยเกียรติแห่งวิชาชีพ
ด้วยวิชาชีพที่ต้องช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ อีกทั้งมีความอิสสระในการประกอบวิชาชีพเป็นอย่างสูง และด้วยเกียรติภูมิของนักกฎหมาย แม้ว่าจะมีความหลากหลายในประเภทคดีมากขึ้นในทุกวันนี้ เนื่องด้วยการเมืองเศรษฐกิจมีความซับซ้อน การที่ภาคประชาชนจะสามารถถ่วงดุลอำนาจรัฐได้อย่างเท่าเทียมในระบอบประชาธิปไตยเช่นในประเทศที่พัฒนาแล้วจะเห็นว่า คดีเกี่ยวกับการปกป้องสิทธิิส่วนบุคคลของการปกป้องผลประโยชน์ของประชาชนทั้งปัจเจกและกลุ่มมีมากมายในศาลต่างประเทส และค่าชดเชยค่าเสียหายก็สูงเสียกระทั่ง ภาครัฐหรือภาคเอกชนต้องระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการที่จะไม่ละเมิดสิทธิของพลเมืองไม่ว่าจะเป็นบุคคลแค่คนเดียวหรือเป็นกลุ่ม กระทั่งการคุ้มครองปกป้องผลประโยชน์ของผู้บริโภคมิให้ถูกเอาเปรียบจากการโฆษณาชวนเชื่อ กระทั่งการทำสัญญาที่ไม่เป็นธรรมต่างๆ สารพัดวิธีการที่นายทุนเงินสดหรือผู้ประกอบการบางพวกจะใช้พนักงานของตนหรือผู้รับจ้างรับช่วงต่อ นำรายได้เข้าบริษัทห้างร้านกลุ่มทุนในตลาดของตนโดยไม่คำนึงถึงสิทธิพลเมืองพื้นฐานผู้รับบริการ บางที ไม่รู้ว่าบางประเทศในโลกนี้อาจไม่มีสถาบันวิชาชีพด้านกฏหมายภาคอิสสระ ที่เสรีแท้จริงที่ทำงานนอกกรอบอำนาจครอบงำโดยภาคกฏหมายภาครัฐ สถาบันนี้ยังคงมีอยู่ในโลกใบน้อยนี้หรือเปล่า ไม่ใช่ว่าให้พวกที่เอาเปรียบจากสัญญาที่ไม่เป็นธรรมยื่นข้อเสนอต่อรองเอาแต่ได้จนลืมไปว่าสินค้าของตนทำให้ผู้บริโภคเดือดร้อนเสียหาย จนเกินมูลค่าสินค้าหรือบริการไปหลายเท่าตัวแล้ว หรืออย่างสิทธิพลเมืองในการที่จะอยู่อย่างสงบ หากเป็นบางประเทศในโลกนี้คงต้องให้ทนายความส่วนตัวฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายในอันที่ไม่สามารถอยู่อย่างสันติโดยปกติสุขได้ขาดรายได้ หรือเดือดร้อนในการเป็นอยู่สารพัดหรือ ถ้าเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วการฟ้องร้องคดีแบบนี้เขาทำกันแบบปัจเจกเสียด้วยไม่ต้องมารวมเป็นหมู่คณะด้วย เพราะกระทั่งสิทธิส่วนบุคคลเขายังไม่ให้ละเมิดเลย สิทธิพลเมืองที่ถูกละเมิดขนาดที่ทนายแผ่นดินต้องเข้าไปปกป้องด้วยนั้น ยังไม่ทันใจประชาชนหรือบุคคลที่ถูกละเมิดเลยเขาต้องจ้างทนายส่วนตัวเริ่มคดีก่อนด้วยเรียกร้องหมดสิ้น ไม่ว่าเรื่องความเสียหายทางแพ่งหรือละเมิดทางอาญา การรับคดีของทนายเขามีค่าตอบแทนค่าจ้างตรงไปตรงมา ทนายมีความสามารถสูงยิ่งมีฐานะดี เพราะค่าจ้างค่าตอบแทนบางส่วนก็มาจากผลคำตัดสินที่ได้จากค่าเสียหายอะไรอย่างนี้ก็มี งานอาสาก็ต้องทำ ไม่งั้นผู้ยากไร้ก็ไม่มีปากเสียงแทน ไม่ใช่ว่าไม่มีใครกล้าเป็นปากเสียงให้หากฝ่ายตรงข้ามมีอำนาจพิเศษเหนืออำนาจของประชาชนในบางประเทศ โดยเฉพาะตัวแทนของวิชาชีพนักกฏหมายอิสสระอย่างทนายความต้องสามารถถ่วงดุลอำนาจของนักกฏหมายในภาครัฐได้ทุกระดับ อะไรที่ทำให้ประชาชนเสียประโยชน์โดยทนายความไม่ได้เข้าไปปกป้องป้องกันนั้นไม่ได้รับการดูแลไม่ได้เพราะทนายเขามีค่าใช้จ่ายที่ปรึกษากฏหมายอย่างมืออาชีพ เป็นที่ปรึกษาให้แก่ปัจเจกบุคคลได้ทุกชนชั้น พอกันเสียทีกับการที่ต้องติดอยู่กับวิธีพิจารณาความที่ไม่ให้สิทธิพลเมืองในการมีทนายความในทุกความเสียหาย ตราบใดที่หลายความเสียหายอยู่ภายใต้การคุ้มครองที่ไม่มีความถ่วงดุลอำนาจจากนักกฏหมายภาครัฐและภาคประชาชนก็หนีไม่พ้นการที่จะมาพูดว่าไม่ได้รับความยุติธรรมจากนักกฏหมายภาครัฐ เป็นเสียเช่นนี้ การที่จะมีความโปร่งใสให้ความเท่าเทียมในการตรวจสอบถ่วงดุล รู้หน้าที่พลเมือง หรือหน้าที่รับผิดชอบของหน่วยงานของตน และทำงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบโดยไม่เกรงอำนาจอิทธิพลใดๆก็แสนจะลำบากใจ อายเหมือนกันหากทางภาคเอกชนบางประเทศออกมาประนามหยามหยันว่าภาคการเมืองไม่พัฒนาสู้ภาคเอกชนไม่ได้ ก็เห็นจะจริง หากทางภาครัฐมีการจูงใจบุคคลากรสูงได้อย่างภาคเอกชนก็คงมีการซื้อขายตัวกันได้บ้าง เช่นเงินเดือนสวัสดิการของภาครัฐสูงที่สุดในโลกเหมือนประเทศเกาะน้อยปลายแหลมบ้าง ภาครัฐคงสามารถรีครูทคนเก่งคนดีมาจัดการให้บรรดาภาคเอกชนที่มีกำไรมหาศาลทั้งเป็นบริษัทมหาชนหรือไม่ก็ตาม ได้เสียภาษีหรือให้ประโยชน์แก่สังคมอย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย และต้องมีการบังคับการมีกิจกรรมเกี่ยวกับประโยชน์สุขของสังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นจำนวนครึ่งหนึ่งของกำไรและผลประโยชน์ นำมาเป็นสวัสดิการให้ทุกอาชีพได้ทั่วถึงทั้งประเทศ ไม่ใช่มีให้บางชุมชนที่มีไว้เพื่อสร้างภาพเท่านั้น ความรับผิดชอบต่อชุมชนนั้นหากหวังเพียงรัฐสวัสดิการ งบประมาณแผ่นดิน เงินกู้ เงินระดมทุนจากพันธบัตร ภาครัฐเท่านั้น แต่ภาคเอกชนรู้สึกเฉยๆ ไม่ยอมตระหนัก เพราะไม่มีรัฐบาลไหนกล้าออกกฏหมายมาบังคับ ให้เอกชนที่หนุนหลังพรรคการเมืองทั้งฝ่ายค้านหรือรัฐบาลได้หักประโยชน์ที่เคยอุปถัมป์ผู้สร้างนโยบายเอื้อประโยชน์ให้ธุรกิจของตน มาเป็นให้ประโยชน์ต่อประชาชนส่วนรวม หรือเพราะยังไม่มีรัฐบาลไหนที่สามารถมาเอาภาษีครึ่งหนึ่งจากคนรวยไม่กี่เปอร์เซ็นของประเทศได้ ตลาดหลักทรัพย์มูลค่าของหุ้นกระจายอยู่ในมือของคนบางกลุ่มบางตระกูลเท่านั้นในบางประเทศ บริษัทมหาชนไม่ได้มีความหมายว่าเป็นของประชาชน ผู้ถือหุ้นหรือนักลงทุนจากทั่วโลกสามารถมาแสวงหากำไรได้อย่างสะดวกดาย เพราะไม่เคยมีนโยบายของภาครัฐไม่ว่ารัฐบาลไหนจะสามารถแบ่งกำไรปันผลจากตลาดทุนเป็นแสนแสนล้านลงสู่กลุ่มรากหญ้าได้ในฉับพลันที่มีการขายหุ้นเอากำไร นโยบายลดความยากจนหากภาคเอกชนไม่ตระหนักและร่วมแรงร่วมเงินก็ไม่มีทางลดความยากจนและช่องว่างระหว่างรายได้ได้ นักการเมืองของบางประเทศตกเป็นเครื่องมือของกลุ่มทุนใหญ่ในตลาดทุนเพื่อให้มูลค่าหุ้นของตนหรือกองทุนของตนในตลาดทุนทวีค่าสูงสุดน่าลงทุนที่สุดเพราะมีนโยบายของภาครัฐสนับสนุนทุกรัฐบาลไม่ว่าใครมาเป็นฝ่ายค้านหรือรัฐบาล กลุ่มทุนในตลาดทุนก็จะกอบโกยผลกำไรเสวยสุข มีทรัพย์สินฝากไว้ทั่วโลกไม่ต้องเกรงกลัวว่าจะไม่มีเงินใช้แม้ไม่มีแผ่นดินจะอยู่ ก็ไม่รู้ว่าประเทศไหนบุคคลใด ได้แต่หวังว่าสักวันทนายความมืออาชีพของเราจะยืดอกยกตัวขึ้นเหนือคำปรามาสใดๆ การปฎิวัติครั้งใหญ่ของทนายความไทยอาจใกล้เคียงกับสากลเร็วๆนี้ เพื่อสิทธิของประชาชนจะได้รับการปกป้องอย่างครบวงจรเสียที ไม่ใช่มาแก้ไขกันที่ปลายเหตุอย่างทุกวันนี้ ทนายความต้องมีรายได้สูง โดยที่ไม่จำเป็นต้องมีคดีมาสู่ชั้นสอบสวนหรือชั้นศาล การปกป้องคุ้มครองป้องกันไม่ให้เกิดคดีโดยการให้การปรึกษาหรือช่วยประนอมของทนายความอิสสระต่างหากเล่าจึงจะสามารถตัดไฟเสียแต่ต้นลม และทนายต้องได้รับค่าที่ปรึกษาที่เป็นเหตุผลตั้งแต่แรก สิ่งนี้จะไม่ทำให้คดีความยืดเยื้อเรื้อรังมีแต่ค่าใช้จ่ายและความเสียหายที่มากมายตามมา และนั่นคือการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาด้านการเป็นที่ปรึกษากฏหมายในฐานะทนายความที่มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญซึ่งมีมากมายในประเทศของเรานี้ แต่กลับไม่ให้คุณค่าไม่ให้ราคา ทำให้เสียโอกาสในการที่ประชาชนจะได้รับการดูแลทางกฏหมายอย่างคุ้มค่า ทรัยย์ในการให้คำปรึกษาอย่างหนึ่งนี้ให้มีค่ามีราคา นั่นคือประสบการณ์ความสามารถของทนายมืออาชีพต้องมีค่ามีราคากระทั่งคำปรึกษาที่รักษาประโยชน์ของประชาชนตั้แต่เริ่มแรกนั่นเอง ในบางประเทศคิดราคาที่ปรึกษาเป็นรายชั่วโมงเลยก็มี แลกกับการไม่ไปเสียเวลาในกระบวนการสอบสวนหรือชั้นศาล ไม่ต้องมีคดีรกโรงรกศาลอีกต่อไป
สุขสันต์วันเกิด คิดว่าน่าจะมีสิ่งใหม่ตามมาบ้างสำหรับอาชีพทนายความในอนาคต
still think that next more preventive human right must take new vision and income and role of professional law consultant or solicilator ,attorney,lawyer that have full quality for lawyer fee of lawfirm in future...only hope that my partner will get nice healthy and wealthy inside his career.for his birthday....nice professional lawyer must keep dignity as if high cost earning to cut the offense in broke rule of law with original occur before more worse result coming ...
sugarcane give gift for her friend birthday.http://www.phtnet.org/news52/view-news.asp?nID=241
การใช้สารสะเดาเพื่อกำจัดแมลงศัตรูพืช (2)
เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 52
พุธที่แล้วได้กล่าวถึงการใช้สารสะเดา เพื่อกำจัดแมลงศัตรูพืช แต่ยังไม่จบ ขอนำมาบอกต่อดังนี้...ข้อมูลโดย ศ.ดร.ขวัญชัย สมบัติศิริ แห่งภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร ม.เกษตรศาสตร์ จากเอกสารเผยแพร่ทางวิชาการ เรื่อง หลักการและวิธีการใช้สะเดาป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืช ระบุไว้ว่า การสกัดสารอะซาไดแรคตินจากเมล็ดหรือผลสะเดาทําได้หลายวิธีด้วยกัน สิ่งที่สําคัญคือ ส่วนของสะเดาที่ใช้ต้องบดให้ละเอียด สําหรับตัวสกัดที่เหมาะสมในการผลิตเป็นการค้าคือ แอลกอฮอล์ อาจเป็นเอทิลแอลกอฮอล์หรือเมทิล แอลกอฮอล์ก็ได้ แต่เมทิลแอลกอฮอล์ราคาถูกกว่ามาก ถ้าใช้เมทิลแอลกอฮอล์ ต้องระวังอย่าให้เข้าปากหรือเข้าตา ในกระบวนการสกัดสารถ้าต้องการผลิตใช้เอง ตัวสกัดที่เหมาะสม คือ นํ้า ซึ่งเกษตรกรเป็นจํานวนไม่น้อยใช้น้ำในการสกัดสารจากผลสะเดาที่ได้จากผลแห้ง “การ สกัดเพื่อใช้เอง ให้นำผงสะเดาที่ได้จากการบดผลสะเดาแห้ง จํานวน 10 กิโลกรัม ใส่ในภาชนะบรรจุ เติมนํ้าให้ท่วมประมาณ 200 ลิตร (ผงสะเดา 1 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร) แช่ไว้นานประมาณ 24 ชั่วโมง ในระหว่างการแช่นํ้า อาจใช้ไม้ยาวกวนให้ผลสะเดารวมกับน้ำเป็นครั้งคราว เมื่อครบกําหนดเวลาจึงกรองนํ้ายาผ่านตาข่ายพลาสติกสีเขียว ในกรณีที่ใช้เครื่องพ่นสูบโยกที่ใช้แรงคน เกษตรกรบางรายที่ต้องการประหยัดผงสะเดา อาจแช่ครั้งแรกประมาณ 3 ชั่วโมงจึงกรองนํ้ายาออก จากนั้นเติมนํ้าลงไปในกากสะเดาใหม่ แต่ใช้นํ้าน้อยลง อาจเป็น 100-150 ลิตร แช่ไว้ประมาณ 24 ชั่วโมง จึงกรองนํ้ายาไปใช้ นอกจากนั้น เกษตรกรอาจใช้แอลกอฮอล์ร่วมสกัดโดยการนําผงสะเดาที่รู้นํ้าหนักแล้ว บรรจุในภาชนะที่มีฝาปิดสนิท เติมเมทิลแอลกอฮอล์ให้ท่วมผงสะเดา จะแช่ไว้นานเท่าใดก็ได้ แต่อย่างน้อยควรนานกว่า 1 วัน จากนั้นนําผลสะเดาที่แช่ในแอลกอฮอล์ไปแช่ในนํ้า โดยคิดอัตราส่วน ผงสะเดา 1 กิโลกรัม (ไม่รวม นํ้าหนักของแอลกอฮอล์) ต่อนํ้า 20 ลิตร แช่ในนํ้าเป็นเวลาประมาณ 2 ชั่วโมง จึงกรองเหมือนวิธีเดิม...” ศ.ดร.ขวัญชัย กล่าว
ข้อมูลจาก กลุ่มส่งเสริมการผลิตและการจัดการผลผลิต สำนักงานเกษตรจังหวัดนนทบุรี บอกไว้ว่า ประสิทธิภาพของสารสะเดาต่อแมลงศัตรูพืช แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ
1. ใช้สารสกัดสะเดาได้ผลดี เช่น หนอน กระทู้ผัก หนอนหลอดหอม หนอนใยผัก หนอนม้วนใบ หนอนชอนใบ เพลี้ยจักจั่นฝ้าย หนอน กระทู้หอม เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไก่แจ้ หนอนแก้วส้ม หนอนผีเสื้อหัวกะโหลก
2. ใช้สารสะเดาได้ผลปานกลาง เช่น หนอนเจาะฝักถั่ว หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนเจาะดอกมะลิ หนอนแมลงวันเจาะต้นถั่ว หนอนเจาะยอดและผลมะเขือเทศ หนอนเจาะยอดคะน้า และแมลงหวี่ขาวยาสูบ
3. ใช้สารสะเดาไม่ได้ผล เช่น เพลี้ยไฟ มวนแดง มวนเขียว หมัดกระโดด เต่าแตงแดง เต่าแตงดำ ด้วงกุหลาบ และแมลงปีกแข็งอีกหลายชนิด
สำหรับการใช้สารสะเดาเพื่อควบคุมแมลง ศัตรูพืชนั้น สามารถใช้ได้หลายทาง คือ การใช้ทางดิน ตัวอย่างเช่น
1. ควบคุมตัวอ่อนด้วงหมัดผักในพืชตระกูลกะหล่ำ เช่น ผักกาดหัว คะน้า กะหล่ำดอก กวางตุ้ง เป็นต้น ให้หว่านเมล็ดสะเดาบดแห้ง หลังย้ายกล้าหรือหลังงอก 7-10 วัน อัตรา 20-25 กก. ต่อไร่ หรือโรยรอบโคนต้น อัตรา 2.5-3 กรัมต่อหลุม
2. ควบคุมหนอนแมลงวันเจาะโคนต้นถั่ว ในถั่วฝักยาว ถั่วเหลือง ถั่วแระญี่ปุ่น ถั่วแขก ถั่วพู เป็นต้น ให้หว่านเมล็ดสะเดาบดแห้ง หลังจากถั่วงอกพ้นดิน 7-10 วัน อัตรา 10 หรือ 15 กก. ต่อไร่ หรือ 5 กรัมต่อหลุม
3. ควบคุมหนอนกระทู้ผักในแปลงหน่อไม้ฝรั่ง ให้โรยเมล็ดสะเดาบดรอบกอ อัตรา 5 กรัมต่อกอ ทุก 45-60 วัน
การหยอดยอด ใช้เมล็ดสะเดาบดแห้ง ผสมทรายหรือดินหรือขี้เลื่อยอัตราส่วน 1 : 1 โดยปริมาณ เพื่อควบคุมหนอนเจาะลำต้นข้าวโพดที่อาศัยหลบซ่อนบริเวณส่วนยอดในใบรูปกรวย แบ่งการหยอดเป็น 2 ครั้ง คือ ครั้งแรก เมื่อข้าวโพดอายุ 3-4 สัปดาห์ อัตรา 1 กรัมต่อยอด หรือ 8 กิโลกรัมต่อไร่ และหยอดอีกครั้งก่อนข้าวโพดออกดอกตัวผู้ในอัตราเดียวกัน
การพ่น นำเมล็ดสะเดาบด จำนวน 1 กิโลกรัม ห่อด้วยถุงผ้าแช่ในน้ำ 20 ลิตร ทิ้งไว้ ประมาณ 12 ชั่วโมง กวนเป็นครั้งคราว นำน้ำที่ผ่านการกรองแล้วไปผสมสารจับใบ พ่นที่ต้นพืชได้ทันที ทุก 5-7 วัน จนถึงใกล้เก็บเกี่ยว สามารถป้องกันกำจัดเพลี้ยอ่อน เพลี้ยจักจั่น เต่าแตงแดง และดำหนอนใยผัก หนอนหลอดหอม หนอนกระทู้ผัก หนอนคืบ หนอนแก้วส้ม หนอนเจาะฝักและผลได้
ข้อ จำกัดของการใช้สารสกัดจากสะเดา
1. สารสกัดจากสะเดาไม่สามารถฆ่าแมลงได้ทุกชนิด โดยเฉพาะที่อยู่ในระยะตัวเต็มวัย
2. ในช่วงที่เกิดการระบาดรุนแรง การใช้สารสกัดสะเดาเพียงอย่างเดียวไม่สามารถลดความเสียหายได้ทันทีเนื่องจาก สะเดาไม่สามารถฆ่าแมลงได้ตายทันทีเหมือนสารเคมี
3. สารสกัดจากสะเดา สลายตัวอ่อนค่อนข้างไว ดังนั้นช่วงระยะเวลาในการฉีดพ่นจึงสั้นลงประมาณ 5-7 วันต่อครั้ง แต่ถ้าฉีดพ่นในโรงเก็บ ไม่ถูกแสงแดดสามารถออกฤทธิ์ป้องกันกำจัดแมลงได้อย่างน้อย 3 สัปดาห์
หมาย เหตุ ขอขอบคุณข้อมูลจาก ศ.ดร. ขวัญชัย สมบัติศิริ และสำนักงานเกษตรจังหวัดนนทบุรี.
ที่มา : หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ วันที่ 6 พฤษภาคม 2552
http://www.dailynews.co.th/web/html/popup_news/Default.aspx?Newsid=198219&NewsType=1&Template=1
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
คณะทำงาน KM
สำนักงานเกษตรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สะเดา (Neem)
ชื่อสามัญ Azadirachta indica Juss. Var. Sinensis Valeton
สะเดาเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 5-10 เมตร ลำต้นมีเปลือกหนาสีเทาถึงน้ำตาลอ่อน ทุกส่วนจะมีรสขม เนื่องจากสาร Nimbidin ซึ่งเป็นสารที่ไม่มีพิษ ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อย รูปหอกขอบใบหยัก แบบฟันเลื่อย ฐานใบไม่เท่ากัน ใบย่อยกว้าง 2 2.5 ซม. ยาว 3 7.5 ซม. ยอดอ่อนสีน้ำตาลแดง ดอกเป็นช่อออกที่ปลายกิ่ง จะออกเมื่อใบแก่ร่วงไปแล้ว กลีบดอกมีสีขาวมีกลิ่นหอมจะออกในราวเดือน ธันวาคมถึงเดือนมีนาคม ผลสดเป็นรูปรีกลม สีเหลือง
ส่วนที่ใช้ประโยชน์ : ใบ ผล เปลือก เมล็ด มีฤทธิ์ในการฆ่า ขับไล่ ต่อต้านการดูดกิน และยับยั้งการเจริญเติบโตแมลง ส่วนที่ใช้ขยายพันธุ์ : เมล็ด กิ่งตอน
สารสำคัญ -เปลือกต้นมีสาร nimbin, desacetylnimbin -ในใบมี quercetin -ในผล จะมีสารชนิดหนึ่งที่มีรสขม ซึ่งสารนี้มีชื่อว่า bakayanin -ในช่อดอกมี สารพวกไกลโคไซด์ ซึ่งมีชื่อว่า Nimbosterin 0.005 % และมีน้ำมันหอมระเหยที่มีรสเผ็ดจัดอยู่ 0.5 % นอกนั้นพบ Nimbecetin, Nimbosterol, กรดไขมัน และสารที่มีรสขม -ในเมล็ดมีน้ำมันขมชื่อว่า Margosic acid 45 % หรือบางทีเรียกว่า Nim oil และสารขมชื่อว่า Nimbin, Numbidin และมีสาร azadirachtin สามารถฆ่าแมลงได้ azadirachtin ในเมล็ดมี ประมาณ 0.41% สะเดาอินเดียพบ 7.6 มก./กรัม โดยเฉลี่ย สะเดาไทยพบ 6.7 มก./กรัม โดยเฉลี่ย และสะเดาช้าง (ต้นเทียม) พบ 4.0 มก./กรัม โดยเฉลี่ย
ประโยชน์ ออกฤทธิ์ในการป้องกันกำจัดแมลง ได้หลายรูปแบบ คือเป็นสารฆ่าแมลง สารไล่แมลง ทำให้แมลงไม่ชอบกิน อาหาร ทำให้การเจริญเติบโตของแมลงผิดปกติ ยับยั้งการเจริญเติบโตของแมลง มีผลทำให้หนอนไม่สามารถลอกคราบเจริญเติบโตต่อไป หนอนจะตายในระยะลอกคราบ เพราะสารออกฤทธิ์มีผลต่อการสร้างฮอร์โมน ซึ่งทำให้การผลิตไข่และปริมาณการฟักไข่จะลดน้อยลง สาร azadirachtin ใช้ได้ผลดี กับหนอน เช่น หนอนใยผัก หนอนใยกะหล่ำปลี หนอนเจาะยอดคะน้า หนอนชอนใบ หนอนกระทู้ หนอนหนามเจาะสมอฝ้าย หนอนหลอดหอม หนอนกอ และหนอนบุ้งปอแก้ว แต่ไม่ได้ผล กับมวนแดง หมัดกระโดดตัวเต็มวัย ด้วงปีกแข็ง มวนเขียว หนอนเจาะฝักถั่วเขียว เพลี้ยแป้งเพลี้ยหอย ใช้ป้องกันและกำจัดเชื้อรา เชื้อแบคทีเรียได้ พืชผักบางอย่าง เช่นผักคะน้า, ผักกาดขาวปลี ผักกาดกวางตุ้ง ผักกาดขาว กะหล่ำปลี หอม มะเขือ ถ้าหากใช้สารสกัดจากสะเดาที่มีความเข้มข้นมาก ๆ และมีส่วนของน้ำมันสะเดาผสมอยู่มากจะทำให้ใบผักมีสีผิดปกติ ผักใบจะด้านโดยเฉพาะด้านบนของใบที่ถูกแสงแดดจะแสดงอาการสีม่วง ถ้าผลิตผักเป็นการค้าอาจจะมีผลต่อผู้ซื้อได้
วิธีการใช้ เวลาฉีดพ่นควรทำในตอนเย็นจะได้ผลดี เพราะสารนี้จะสลายตัวได้ง่ายเมื่อถูกแสงแดด
1. นำเมล็ดแก่ประมาณ 1 กก. มาบดและแช่น้ำ 1 ปี๊บ หมักค้างคืน จึงนำน้ำหมักมาใช้ฉีดฆ่าแมลงได้
2. เอาเมล็ดสะเดาแห้งที่ประกอบด้วยเปลือกหุ้มเมล็ดและเนื้อเมล็ด มาบดให้ละเอียดแล้วนำผงเมล็ดสะเดามาหมักกันน้ำในอัตรา 1 กิโลกรัม/น้ำ 20 ลิตร โดยใช้ผงสะเดาใส่ไว้ในถุงผ้าขาวบางแล้วนำไปแช่ในน้ำ นาน 24 ชั่วโมง ใช้มือบีบถุงตรงส่วนของผงสะเดา เพื่อสาร azadirachtin ที่อยู่ในผงสะเดาสลายตัวออกมาให้มากที่สุด เมื่อจะใช้ก็ยกถุงผ้าออก พยายามบีบถุงให้น้ำในผงสะเดาออกให้หมดแล้วนำไปฉีดป้องกันกำจัดแมลง ก่อนนำไปฉีดแมลงควรผสมสารจับใบเพื่อให้สารจับกับใบพืชได้ดีขึ้น ใช้ฉีดพ่น 5-7 วันต่อครั้ง
3. เอาเมล็ดสะเดาแห้งที่ประกอบด้วยเปลือกหุ้มเมล็ดและเนื้อเมล็ด มาบดให้ละเอียดแล้วนำผงเมล็ดสะเดามาแช่ในแอลกอฮอล์(40%) โดยใช้สะเดา 1 กก.ต่อแอลกอฮอล์ 2 ลิตร วิธีนี้จะช่วยให้สามารถเก็บรักษาไว้ได้นานถึงหนึ่งปี (แช่ทิ้งไว้) หลังจากแช่ได้ 7 วัน นำออกมาใช้ในอัตรา 50-100 ซีซี./น้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น ทุก 7-15 วัน
คุณลิขิต : KM Team อ.บางไทร
สารสะเดาเพื่อกำจัดแมลงศัตรูพืช แต่ยังไม่จบ ขอนำมาบอกต่อดังนี้...ข้อมูลโดย ศ.ดร.ขวัญชัย สมบัติศิริ แห่งภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร ม.เกษตรศาสตร์ จากเอกสารเผยแพร่ทางวิชาการ เรื่อง หลักการและวิธีการใช้สะเดาป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืช ระบุไว้ว่า การสกัดสารอะซาไดแรค ตินจากเมล็ดหรือผลสะเดาทําได้หลายวิธีด้วยกัน สิ่งที่สําคัญคือ ส่วนของสะเดาที่ใช้ต้องบดให้ละเอียด สําหรับตัวสกัดที่เหมาะสมในการผลิตเป็นการค้าคือ แอลกอฮอล์ อาจเป็นเอทิลแอลกอฮอล์หรือ เมทิล แอลกอฮอล์ก็ได้ แต่เมทิลแอลกอฮอล์ราคาถูกกว่า มาก ถ้าใช้เมทิลแอลกอฮอล์ ต้องระวังอย่าให้เข้าปากหรือเข้าตา ในกระบวนการสกัดสารถ้าต้อง การผลิตใช้เอง ตัวสกัดที่เหมาะสม คือ นํ้า ซึ่งเกษตรกรเป็นจํานวนไม่น้อยใช้น้ำในการสกัดสารจากผลสะเดาที่ได้จากผลแห้ง
“การสกัดเพื่อใช้เอง ให้นำผงสะเดาที่ ได้จากการบดผลสะเดาแห้ง จํานวน 10 กิโลกรัม ใส่ในภาชนะบรรจุ เติมนํ้าให้ท่วมประมาณ 200 ลิตร (ผงสะเดา 1 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร) แช่ไว้นานประมาณ 24 ชั่วโมง ในระหว่างการแช่นํ้า อาจใช้ไม้ยาวกวนให้ผลสะเดา รวมกับน้ำเป็นครั้งคราว เมื่อครบกําหนดเวลาจึงกรองนํ้ายาผ่านตาข่ายพลาสติกสีเขียว ในกรณีที่ใช้เครื่องพ่นสูบโยกที่ใช้แรงคน เกษตรกรบางรายที่ต้องการประหยัดผง สะเดา อาจแช่ครั้งแรกประมาณ 3 ชั่วโมงจึงกรองนํ้ายาออก จากนั้นเติมนํ้าลงไปในกากสะเดาใหม่ แต่ใช้นํ้าน้อยลง อาจเป็น 100-150 ลิตร แช่ไว้ประมาณ 24 ชั่วโมง จึงกรองนํ้ายาไปใช้ นอกจากนั้น เกษตรกรอาจใช้แอลกอฮอล์ร่วมสกัดโดยการนําผงสะเดาที่รู้นํ้าหนักแล้ว บรรจุในภาชนะที่มีฝาปิดสนิท เติมเมทิลแอลกอฮอล์ให้ท่วมผงสะเดา จะแช่ไว้นานเท่าใดก็ได้ แต่อย่างน้อยควรนานกว่า 1 วัน จากนั้นนําผลสะเดาที่แช่ในแอลกอฮอล์ไปแช่ในนํ้า โดยคิดอัตราส่วน ผงสะเดา 1 กิโลกรัม (ไม่รวม นํ้าหนักของแอลกอฮอล์) ต่อนํ้า 20 ลิตร แช่ในนํ้าเป็นเวลาประมาณ 2 ชั่วโมง จึงกรองเหมือนวิธีเดิม...” ศ.ดร.ขวัญชัย กล่าว
ข้อมูลจาก กลุ่มส่งเสริมการผลิตและการจัดการผลผลิต สำนักงานเกษตรจังหวัดนนทบุรี บอกไว้ว่า ประสิทธิภาพของสารสะเดาต่อแมลงศัตรูพืช แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ
1. ใช้สารสกัดสะเดาได้ผลดี เช่น หนอน กระทู้ผัก หนอนหลอดหอม หนอนใยผัก หนอนม้วนใบ หนอนชอนใบ เพลี้ยจักจั่นฝ้าย หนอน กระทู้หอม เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไก่แจ้ หนอนแก้วส้ม หนอนผีเสื้อหัวกะโหลก
2. ใช้สารสะเดาได้ผลปานกลาง เช่น หนอนเจาะฝักถั่ว หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนเจาะดอกมะลิ หนอนแมลงวันเจาะต้นถั่ว หนอนเจาะยอดและผลมะเขือเทศ หนอนเจาะยอดคะน้า และแมลงหวี่ขาวยาสูบ
3. ใช้สารสะเดาไม่ได้ผล เช่น เพลี้ยไฟ มวนแดง มวนเขียว หมัดกระโดด เต่าแตงแดง เต่าแตงดำ ด้วงกุหลาบ และแมลงปีกแข็งอีกหลายชนิด
สำหรับการใช้สารสะเดาเพื่อ ควบคุมแมลงศัตรูพืชนั้น สามารถใช้ได้หลายทาง คือ การใช้ทางดิน ตัวอย่างเช่น
1. ควบคุมตัวอ่อนด้วงหมัดผักในพืชตระกูลกะหล่ำ เช่น ผักกาดหัว คะน้า กะหล่ำดอก กวางตุ้ง เป็นต้น ให้หว่านเมล็ดสะเดาบดแห้ง หลัง ย้ายกล้าหรือหลังงอก 7-10 วัน อัตรา 20-25 กก. ต่อไร่ หรือโรยรอบโคนต้น อัตรา 2.5-3 กรัมต่อหลุม
2. ควบคุมหนอนแมลงวันเจาะโคนต้นถั่ว ในถั่วฝักยาว ถั่วเหลือง ถั่วแระญี่ปุ่น ถั่วแขก ถั่วพู เป็นต้น ให้หว่านเมล็ดสะเดาบดแห้ง หลังจากถั่วงอกพ้นดิน 7-10 วัน อัตรา 10 หรือ 15 กก. ต่อไร่ หรือ 5 กรัมต่อหลุม
3. ควบคุมหนอนกระทู้ผักในแปลงหน่อไม้ฝรั่ง ให้โรยเมล็ดสะเดาบดรอบกอ อัตรา 5 กรัมต่อกอ ทุก 45-60 วัน
การหยอดยอด ใช้เมล็ดสะเดาบดแห้ง ผสมทรายหรือดินหรือขี้เลื่อยอัตราส่วน 1 : 1 โดยปริมาณ เพื่อควบคุมหนอนเจาะลำต้นข้าวโพดที่อาศัยหลบซ่อนบริเวณส่วนยอดในใบรูปกรวย แบ่งการหยอดเป็น 2 ครั้ง คือ ครั้งแรก เมื่อข้าวโพดอายุ 3-4 สัปดาห์ อัตรา 1 กรัมต่อยอด หรือ 8 กิโลกรัมต่อไร่ และหยอดอีกครั้งก่อนข้าวโพดออกดอกตัวผู้ในอัตราเดียวกัน
การพ่น นำเมล็ดสะเดาบด จำนวน 1 กิโลกรัม ห่อด้วยถุงผ้าแช่ในน้ำ 20 ลิตร ทิ้งไว้ ประมาณ 12 ชั่วโมง กวนเป็นครั้งคราว นำน้ำที่ผ่านการกรองแล้วไปผสมสารจับใบ พ่นที่ต้นพืชได้ทันที ทุก 5-7 วัน จนถึงใกล้เก็บเกี่ยว สามารถ ป้องกันกำจัดเพลี้ยอ่อน เพลี้ยจักจั่น เต่าแตงแดง และดำ หนอนใยผัก หนอนหลอดหอม หนอนกระทู้ผัก หนอนคืบ หนอนแก้วส้ม หนอนเจาะฝักและผลได้
ข้อจำกัดของการใช้สารสกัดจากสะเดา
1. สารสกัดจากสะเดาไม่สามารถฆ่าแมลงได้ทุกชนิด โดยเฉพาะที่อยู่ในระยะตัวเต็มวัย
2. ในช่วงที่เกิดการระบาดรุนแรง การใช้สารสกัดสะเดาเพียงอย่างเดียวไม่สามารถ ลดความเสียหายได้ทันทีเนื่อง จากสะเดาไม่สามารถฆ่าแมลงได้ตายทันทีเหมือนสารเคมี
3. สารสกัดจากสะเดา สลายตัวอ่อนค่อนข้างไว ดังนั้นช่วงระยะเวลาในการฉีดพ่นจึงสั้นลงประมาณ 5-7 วันต่อครั้ง แต่ถ้าฉีดพ่นในโรงเก็บ
ไม่ถูกแสงแดดสามารถออกฤทธิ์ป้องกันกำจัดแมลงได้อย่างน้อย 3 สัปดาห์
หมายเหตุ ขอขอบคุณข้อมูลจาก ศ.ดร. ขวัญชัย สมบัติศิริ และสำนักงานเกษตรจังหวัดนนทบุรี.
ที่มา dailynews.co.th
“การสกัดเพื่อใช้เอง ให้นำผงสะเดาที่ ได้จากการบดผลสะเดาแห้ง จํานวน 10 กิโลกรัม ใส่ในภาชนะบรรจุ เติมนํ้าให้ท่วมประมาณ 200 ลิตร (ผงสะเดา 1 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร) แช่ไว้นานประมาณ 24 ชั่วโมง ในระหว่างการแช่นํ้า อาจใช้ไม้ยาวกวนให้ผลสะเดา รวมกับน้ำเป็นครั้งคราว เมื่อครบกําหนดเวลาจึงกรองนํ้ายาผ่านตาข่ายพลาสติกสีเขียว ในกรณีที่ใช้เครื่องพ่นสูบโยกที่ใช้แรงคน เกษตรกรบางรายที่ต้องการประหยัดผง สะเดา อาจแช่ครั้งแรกประมาณ 3 ชั่วโมงจึงกรองนํ้ายาออก จากนั้นเติมนํ้าลงไปในกากสะเดาใหม่ แต่ใช้นํ้าน้อยลง อาจเป็น 100-150 ลิตร แช่ไว้ประมาณ 24 ชั่วโมง จึงกรองนํ้ายาไปใช้ นอกจากนั้น เกษตรกรอาจใช้แอลกอฮอล์ร่วมสกัดโดยการนําผงสะเดาที่รู้นํ้าหนักแล้ว บรรจุในภาชนะที่มีฝาปิดสนิท เติมเมทิลแอลกอฮอล์ให้ท่วมผงสะเดา จะแช่ไว้นานเท่าใดก็ได้ แต่อย่างน้อยควรนานกว่า 1 วัน จากนั้นนําผลสะเดาที่แช่ในแอลกอฮอล์ไปแช่ในนํ้า โดยคิดอัตราส่วน ผงสะเดา 1 กิโลกรัม (ไม่รวม นํ้าหนักของแอลกอฮอล์) ต่อนํ้า 20 ลิตร แช่ในนํ้าเป็นเวลาประมาณ 2 ชั่วโมง จึงกรองเหมือนวิธีเดิม...” ศ.ดร.ขวัญชัย กล่าว
ข้อมูลจาก กลุ่มส่งเสริมการผลิตและการจัดการผลผลิต สำนักงานเกษตรจังหวัดนนทบุรี บอกไว้ว่า ประสิทธิภาพของสารสะเดาต่อแมลงศัตรูพืช แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ
1. ใช้สารสกัดสะเดาได้ผลดี เช่น หนอน กระทู้ผัก หนอนหลอดหอม หนอนใยผัก หนอนม้วนใบ หนอนชอนใบ เพลี้ยจักจั่นฝ้าย หนอน กระทู้หอม เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไก่แจ้ หนอนแก้วส้ม หนอนผีเสื้อหัวกะโหลก
2. ใช้สารสะเดาได้ผลปานกลาง เช่น หนอนเจาะฝักถั่ว หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนเจาะดอกมะลิ หนอนแมลงวันเจาะต้นถั่ว หนอนเจาะยอดและผลมะเขือเทศ หนอนเจาะยอดคะน้า และแมลงหวี่ขาวยาสูบ
3. ใช้สารสะเดาไม่ได้ผล เช่น เพลี้ยไฟ มวนแดง มวนเขียว หมัดกระโดด เต่าแตงแดง เต่าแตงดำ ด้วงกุหลาบ และแมลงปีกแข็งอีกหลายชนิด
สำหรับการใช้สารสะเดาเพื่อ ควบคุมแมลงศัตรูพืชนั้น สามารถใช้ได้หลายทาง คือ การใช้ทางดิน ตัวอย่างเช่น
1. ควบคุมตัวอ่อนด้วงหมัดผักในพืชตระกูลกะหล่ำ เช่น ผักกาดหัว คะน้า กะหล่ำดอก กวางตุ้ง เป็นต้น ให้หว่านเมล็ดสะเดาบดแห้ง หลัง ย้ายกล้าหรือหลังงอก 7-10 วัน อัตรา 20-25 กก. ต่อไร่ หรือโรยรอบโคนต้น อัตรา 2.5-3 กรัมต่อหลุม
2. ควบคุมหนอนแมลงวันเจาะโคนต้นถั่ว ในถั่วฝักยาว ถั่วเหลือง ถั่วแระญี่ปุ่น ถั่วแขก ถั่วพู เป็นต้น ให้หว่านเมล็ดสะเดาบดแห้ง หลังจากถั่วงอกพ้นดิน 7-10 วัน อัตรา 10 หรือ 15 กก. ต่อไร่ หรือ 5 กรัมต่อหลุม
3. ควบคุมหนอนกระทู้ผักในแปลงหน่อไม้ฝรั่ง ให้โรยเมล็ดสะเดาบดรอบกอ อัตรา 5 กรัมต่อกอ ทุก 45-60 วัน
การหยอดยอด ใช้เมล็ดสะเดาบดแห้ง ผสมทรายหรือดินหรือขี้เลื่อยอัตราส่วน 1 : 1 โดยปริมาณ เพื่อควบคุมหนอนเจาะลำต้นข้าวโพดที่อาศัยหลบซ่อนบริเวณส่วนยอดในใบรูปกรวย แบ่งการหยอดเป็น 2 ครั้ง คือ ครั้งแรก เมื่อข้าวโพดอายุ 3-4 สัปดาห์ อัตรา 1 กรัมต่อยอด หรือ 8 กิโลกรัมต่อไร่ และหยอดอีกครั้งก่อนข้าวโพดออกดอกตัวผู้ในอัตราเดียวกัน
การพ่น นำเมล็ดสะเดาบด จำนวน 1 กิโลกรัม ห่อด้วยถุงผ้าแช่ในน้ำ 20 ลิตร ทิ้งไว้ ประมาณ 12 ชั่วโมง กวนเป็นครั้งคราว นำน้ำที่ผ่านการกรองแล้วไปผสมสารจับใบ พ่นที่ต้นพืชได้ทันที ทุก 5-7 วัน จนถึงใกล้เก็บเกี่ยว สามารถ ป้องกันกำจัดเพลี้ยอ่อน เพลี้ยจักจั่น เต่าแตงแดง และดำ หนอนใยผัก หนอนหลอดหอม หนอนกระทู้ผัก หนอนคืบ หนอนแก้วส้ม หนอนเจาะฝักและผลได้
ข้อจำกัดของการใช้สารสกัดจากสะเดา
1. สารสกัดจากสะเดาไม่สามารถฆ่าแมลงได้ทุกชนิด โดยเฉพาะที่อยู่ในระยะตัวเต็มวัย
2. ในช่วงที่เกิดการระบาดรุนแรง การใช้สารสกัดสะเดาเพียงอย่างเดียวไม่สามารถ ลดความเสียหายได้ทันทีเนื่อง จากสะเดาไม่สามารถฆ่าแมลงได้ตายทันทีเหมือนสารเคมี
3. สารสกัดจากสะเดา สลายตัวอ่อนค่อนข้างไว ดังนั้นช่วงระยะเวลาในการฉีดพ่นจึงสั้นลงประมาณ 5-7 วันต่อครั้ง แต่ถ้าฉีดพ่นในโรงเก็บ
ไม่ถูกแสงแดดสามารถออกฤทธิ์ป้องกันกำจัดแมลงได้อย่างน้อย 3 สัปดาห์
หมายเหตุ ขอขอบคุณข้อมูลจาก ศ.ดร. ขวัญชัย สมบัติศิริ และสำนักงานเกษตรจังหวัดนนทบุรี.
ที่มา dailynews.co.th
http://www.munnook.com/thread-50527-1-1.html
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น