always..just clean..
do nt put the junk on public or private property...let it destroy by environment tactic eradicate pollution..
who got benefit from un destroy able waste or chemical junk...the adjustable soil or land developt
'who paiid for compensate of bad environment?
http://www.pcd.go.th/info_serv/reg_relatedlaw.html
กรุณาเลือกรายการที่ต้องการ บริการ Databases : - ข้อมูลระดับเสียงรายวันในกรุงเทพฯ - รายงานคุณภาพอากาศ - คุณภาพน้ำโดยสถานีตรวจวัดอัตโนมัติ - คุณภาพแหล่งน้ำผิวดินทั่วประเทศ - ฐานข้อมูลบัญชีสารอันตราย - ถาม และ ตอบ (Q&A) - โครงการวิจัยและอื่นๆ พ.ร.บ. กฏหมาย และมาตรฐาน : - พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 - นโยบายป้องกันและขจัดมลพิษ ฯ พ.ศ. 2540-2559 - มาตรฐานคุณภาพน้ำประเทศไทย - มาตรฐานคุณภาพอากาศและเสียง - มาตรฐานคุณภาพดิน - ประกาศกรมควบคุมมลพิษ - กฏหมายอื่นที่เกี่ยวกับการควบคุมมลพิษ - การแต่งตั้งเจ้าพนักงานควบคุมมลพิษ และพนักงานเจ้าหน้าที่ - กรณีตัวอย่างการบังคับใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อม คุณภาพน้ำและการจัดการ : - การป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษฯ คลองสารภี - ข้อมูลคุณภาพน้ำแม่น้ำ กรณีอุทกภัย 2549 - โครงการยุวนักรบสิ่งแวดล้อม - แผนฟื้นฟูและปรับปรุงระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสียรวมชุมชน - โครงการ คลองสวย - น้ำใส - การจัดการน้ำทิ้งจากการเกษตรกรรม - ฟาร์มสาธิตต้นแบบการบำบัดน้ำทิ้งจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ - โครงการนักรบสิ่งแวดล้อม - การจัดการมูลสุกรและน้ำเสียจากฟาร์มสุกร - เราจะช่วยกันรักษาแหล่งน้ำได้อย่างไร - คู่มือสำหรับการทำกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแม่น้ำ - คู่มือแนวทางปฏิบัติที่ดีด้านการป้องกันและลดมลพิษ - Asia Pacific Roundtable for Cleaner Production - ระบบบำบัดน้ำเสีย - เครือข่ายการดำเนินงานด้านนิเวศเศรษฐกิจ.. (TNEC) - ทะเลไทยกับการใช้ประโยชน์ - เกร็ดความรู้มลพิษทางทะเล - เกร็ดความรู้มลพิษทางน้ำ คุณภาพอากาศ และเสียง : - การพัฒนามาตรฐาน VOC ในประเทศไทย - การจัดการปัญหามลพิษทางเสียงจากยานพาหนะ - โรงโม่ เหมืองหิน ติดดาว - การลดมลพิษจากรถจักรยานยนต์ - มลพิษหมอกควันข้ามแดน - เกษตรกรไทยร่วมใจไม่เผาฟาง - ศูนย์พัฒนาความเป็นเลิศด้านมลพิษทางอากาศ - (ร่าง)แผนแม่บทการจัดการคุณภาพอากาศและเสียง พ.ศ. 2548-2559 - การให้บริการตรวจวัดมลพิษจากยานพาหนะ - ดัชนีคุณภาพอากาศ - DIESEL - วิธีการคำนวณค่าระดับเสียงเฉลี่ย - การจัดฝึกอบรมระดับภูมิภาค หลักสูตร Acid Dep - การตรวจสอบตรวจจับและห้ามใช้รถยนต์ควันดำ - เอกสารการประชุม DIESEL - โครงการ Car Free Day ของประเทศไทย - หลักเกณฑ์ทางวิชาการและแนวทางปฏิบัติสำหรับเตาเผาศพ - เกร็ดความรู้เรื่องควันขาว - เกร็ดความรู้เรื่องฝุ่นละออง - เกร็ดความรู้เรื่องมลพิษทางเสียง - ชมรมคลินิกไอเสียเพื่อคนรักสิ่งแวดล้อม - สารกรดในบรรยากาศ: มลพิษที่ไร้พรมแดน - มาตรคุณภาพอากาศของประเทศไทยเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ - Air Pollution Information (1994) - Polychlorinated Biphenyls (PCBs) - รถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้า - รถบัสไฟฟ้า ขยะมูลฝอย และการใช้ประโยชน์ : - ความรู้ด้าน 3Rs - การมีส่วนร่วมในโครงการก่อสร้างระบบกำจัดขยะมูลฝอย - การนำของเสียจากกระบวนการฆ่าสัตว์ไปใช้ประโยชน์ - การจัดตั้งศูนย์จัดการขยะมูลฝอย (Clustering) - โครงการขาเทียมพระราชทาน - คู่มือแนวทางและข้อกำหนดเบื้องต้นการลดและใช้ประโยชน์ขยะ - ปริมาณมูลฝอยชุมชนที่เกิดขึ้นในประเทศไทยปี พ.ศ.2536-2545 - ข้อมูลการลดและใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยชุมชนของเทศบาล - การจัดการขยะมูลฝอยชุมชน - การลดปริมาณการใช้กระดาษฯ - ปัญหาสิ่งแวดล้อมจากขยะมูลฝอย สารเคมี และของเสียอันตราย : - การจัดการซากแบตเตอรี่โทรศัพท์มือถือ - การดำเนินงานระหว่างประเทศว่าด้วยการจัดการสารเคมี - สถิติการใช้บริการ Hot Line 1650 - การจัดการซากหลอดฟลูออเรสเซนต์ - โปรแกรมการตอบโต้เหตุฉุกเฉินจากสารเคมี - การจัดการอุบัติภัยฉุกเฉินจากสารเคมี - ศูนย์ประสานงานอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ - คู่มือการระงับอุบัติภัยจากวัตถุอันตราย - การจัดการของเสียอันตรายจากชุมชน - บัญชีรายการของเสียที่ควบคุมการเคลื่อนย้ายข้ามแดนฯ - ซากโทรศัพท์มือถือ-แบตเตอรี่ และแนวทางการจัดการ - ความหมายของป้ายบนรถขนส่งวัตถุอันตราย - อนุสัญญากรุงสตอกโฮล์มว่าด้วยสารมลพิษที่ตกค้างยาวนาน - อนุสัญญารอตเตอร์ดัมว่าด้วยกระบวนการแจ้งข้อมูลสารเคมีฯ - ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ (MSDS) - ศูนย์กำจัดของเสียอันตราย - อันตรายจากน้ำมันหล่อลื่นใช้แล้ว - ระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตราย - มหันตภัยไดออกซิน - พิษภัยจากของเสียอันตราย - การยกร่างกลไกทางกฎหมาย...POPs - ข้อควรรู้เมื่อทำงานเกี่ยวกับสารเคมี - อนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายฯ - การระวังภัยจากสารเคมีอันตราย - ข้อมูลการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ การบริหารจัดการมลพิษ : - คพ. กับการมีส่วนร่วมด้านการพัฒนาที่ยั่งยืน - การเปิดเผยข้อมูลการจัดการสิ่งแวดล้อมของแหล่งกำเนิด... - สถิติการร้องเรียนปัญหามลพิษปี 2547 - สถิติการร้องเรียนปัญหามลพิษปี 2546 - รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทยปี 2545 - รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทยปี 2544 - รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทยปี 2543 - รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทยปี 2542 - ความสำเร็จในการจัดการมลพิษของประเทศไทย - โครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ เทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อม : - เตาเผามูลฝอยติดเชื้อ - ถังหมักขยะอินทรีย์ - โครงการการถ่ายทอดเทคโนโลยีการควบคุมมลพิษ Hotline เรื่องราวร้องทุกข์ Mailing List (สมัคร &ยกเลิกสมาชิกข่าว) เว็บไซต์อื่นๆ ที่น่าสนใจ
บทบาทและภารกิจโดยทั่วไปของกรมควบคุมมลพิษ เป็นไปตามบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เป็นหลัก อันได้แก่ การประกาศพื้นที่เขตควบคุมมลพิษ การกำหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกำเนิด การกำหนดประเภทของแหล่งกำเนิดมลพิษที่จะต้องควบคุมการปล่อยอากาศเสีย น้ำทิ้งหรือขยะมูลฝอย การจัดตั้ง คณะกรรมการควบคุมมลพิษ เพื่อจัดทำนโยบายและแผนงาน ประสานงานในการลดปัญหามลพิษและเสนอมาตรการในการป้องกันมลพิษ โดยมีปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเป็นประธาน ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 กรมควบคุมมลพิษมีหน้าที่กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่จำเป็นในการจัดการมลพิษ ได้แก่ กำหนดหน้าที่ของเจ้าพนักงานควบคุมมลพิษ กำหนดอัตรา ค่าบริการ ค่าปรับ และค่าสินไหมทดแทน หรือ ค่าเสียหาย ซึ่งเจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกำเนิดมลพิษมีหน้าที่ต้องรับผิดชอบซึ่งปรากฏในบทกำหนดโทษ ในกรณีที่มีผู้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม
กรมควบคุมมลพิษ ได้ดำเนินการออกประกาศกระทรวง ข้อกำหนดกระทรวง ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เช่น มาตรฐานระดับเสียงรถยนต์ มาตรฐานค่าควันดำ และค่าก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ที่ยินยอมให้ระบายจากท่อไอเสียรถยนต์ มาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาด ประกาศประเภทของอาคารพื้นที่แหล่งกำเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยน้ำเสียลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะหรือออกสู่สิ่งแวดล้อม การประกาศเขตควบคุมมลพิษ มาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่ง มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน
นอกจากนี้ยังมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของกรมควบคุมมลพิษ ดังนี้
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
การจัดการสิ่งแวดล้อมในบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 นั้น แตกต่างจากรัฐธรรมนูญฉบับที่ผ่านๆ มา โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปราม การกระทำอันเป็นการทำลายทรัพยากรธรรมชาติและก่อให้เกิดมลพิษไว้ชัดเจนในมาตราต่างๆ อาทิ
มาตรา 57 บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับข้อมูล คำชี้แจง และเหตุผลจากหน่วยราชการหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น ก่อนการอนุญาตหรือการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมใดที่อาจมีผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิต หรือส่วนได้เสียสำคัญอื่นใดที่เกี่ยวกับตนหรือชุมชนท้องถิ่น และมีสิทธิแสดงความคิดเห็นของตนต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อนำไปประกอบการพิจารณาในเรื่องดังกล่าว การวางแผนพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์การวางผังเมือง การกำหนดเขตการใช้ประโยชน์ในที่ดิน และการออกกฎที่อาจมีผลกระทบต่อส่วนได้เสียสำคัญของประชาชน ให้รัฐจัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างทั่วถึงก่อนดำเนินการ
มาตรา 66 บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม ย่อมมีสิทธิอนุรักษ์หรือฟื้นฟูจารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่นและของชาติและมีส่วนร่วมในการจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุลและยั่งยืน
มาตรา 67 สิทธิของบุคคลที่จะมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชนในการอนุรักษ์ บำรุงรักษาและการได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุ้มครอง ส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ดำรงชีพอยู่ได้อย่างปกติและต่อเนื่องในสิ่งแวดล้อมที่จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน ย่อมได้รับความคุ้มครองตามความเหมาะสม การดำเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ จะกระทำมิได้ เว้นแต่จะได้ศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียก่อน รวมทั้งได้ให้องค์การอิสระซึ่งประกอบด้วยผู้แทนองค์การเอกชนด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และผู้แทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือด้านสุขภาพ ให้ความเห็นประกอบก่อนมีการดำเนินการดังกล่าว สิทธิของชุมชนที่จะฟ้องหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่นหรือองค์กรอื่นของรัฐที่เป็นนิติบุคคล เพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ตามบทบัญญัตินี้ ย่อมได้รับความคุ้มครอง
มาตรา 73 บุคคลมีหน้าที่รับราชการทหาร ช่วยเหลือในการป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติสาธารณะ เสียภาษีอากร ช่วยเหลือราชการ รับการศึกษาอบรม พิทักษ์ ปกป้อง และสืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติและภูมิปัญญาท้องถิ่น และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ
มาตรา 85 รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ดังต่อไปนี้
(1) กำหนดหลักเกณฑ์การใช้ที่ดินให้ครอบคลุมทั่วประเทศ โดยให้คำนึงถึงความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ทั้งผืนดิน ผืนน้ำ วิถีชีวิตของชุมชนท้องถิ่น และการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ และกำหนดมาตรฐานการใช้ที่ดินอย่างยั่งยืน โดยต้องให้ประชาชนในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากหลักเกณฑ์การใช้ที่ดินนั้นมีส่วนร่วมในการตัดสินใจด้วย (2) กระจายการถือครองที่ดินอย่างเป็นธรรมและดำเนินการให้เกษตรกรมีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิในที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรมอย่างทั่วถึงโดยการปฏิรูปที่ดินหรือวิธีอื่น รวมทั้งจัดหาแหล่งน้ำเพื่อให้เกษตรกรมีน้ำใช้อย่างพอเพียงและเหมาะสมแก่การเกษตร (3) จัดให้มีการวางผังเมือง พัฒนา และดำเนินการตามผังเมืองอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อประโยชน์ในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน (4) จัดให้มีแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและทรัพยากรธรรมชาติอื่นอย่างเป็นระบบและเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม ทั้งต้องให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการสงวน บำรุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุล (5) ส่งเสริม บำรุงรักษา และคุ้มครองคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามหลักการพัฒนาที่ยั่งยืนตลอดจนควบคุมและกำจัดภาวะมลพิษที่มีผลต่อสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยประชาชน ชุมชนท้องถิ่น และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องมีส่วนร่วมในการกำหนดแนวทางการดำเนินงาน
ตลอดจนให้อำนาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจัดการสิ่งแวดล้อม ดังเช่น
มาตรา 290 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมมีอำนาจหน้าที่ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามที่กฎหมายบัญญัติ กฎหมายตามวรรคหนึ่งอย่างน้อยต้องมีสาระสำคัญดังต่อไปนี้
(1) การจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อยู่ในเขตพื้นที่ (2) การเข้าไปมีส่วนร่วมในการบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อยู่นอกเขตพื้นที่ เฉพาะในกรณีที่อาจมีผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของประชาชนในพื้นที่ของตน (3) การมีส่วนร่วมในการพิจารณาเพื่อริเริ่มโครงการหรือกิจกรรมใดนอกเขตพื้นที่ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมหรือสุขภาพอนามัยของประชาชนในพื้นที่ (4) การมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น
มาตราอื่นๆ เช่น มาตรา 86 (3) ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย พัฒนา และใช้ประโยชน์จากพลังงานทดแทนซึ่งได้จากธรรมชาติและเป็นคุณต่อสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ เป็นต้น
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ฉบับเต็มอ่านได้ที่
ห้องสมุดกฎหมาย ของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
http://propelsteps.wordpress.com/2013/12/03/know-basel-convention-treaty-to-prevent-transfer-of-hazardous-waste-between-nations/
What is the Basel Convention?
The Basel Convention is an international treaty that was designed to reduce the movements of hazardous waste between nations, and specifically to prevent